โครงการ IS

 


ใบงานที่ 1
เรื่อง  “โครงการการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง”
Independent Study

ชื่อกลุ่ม  นักสำรวจจัง
  ชั้น 4/8
สมาชิก   1.นายอานุจิตร ช่อทอง เลขที่9
          2.น.ส. ชลลดา แก้ววงษา เลขที่13
          3.น.ส. วนิดา โตพูล เลขที่ 39
1.ขั้นวางแผนการจัดทำโครงการ
   เรื่อง  มูลมหัศจรรย์
 
ผู้ร่วมโครงการ  (บุคคลอื่นๆที่ไม่ใช่สมาชิกกลุ่ม)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................................................                                               
ที่ปรึกษาโครงการ .ครูอัจฉรา  สุขขีมนต์    
หลักการและเหตุผล     (ทำไมจึงสนใจทำเรื่องนี้)          
   - เพื่อศึกษาสิ่งที่ทุกคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน บางคนอาจจะคิดว่ากิ้อกือเป็นสัตว์ที่ไร้ประโยชน์ น่าขยะแขยง น่าเกลียดน่ากลัว   แต่ความจริงแล้วกิ้อกือเป็นสัตว์ที่มีประโยชน์โดยเฉพาะทางการเกษตรกรรม                           
วัตถุประสงค์โครงการ (ทำเพื่ออะไร)
   -  เพื่อทำให้ความคิดของคนที่ไม่ชอบกิ้งกือหันมาสนใจในตัวกิ้อกือมากขึ้นว่าสัตว์ชนิดนี้มีประโยชน์มากเพียงใด
ประเด็นปัญหา (คำถามที่ต้องการรู้)  
   - มูลกิ้อกือสามารถทำให้พืชเจริญเติบโตมากน้อยเพียงใด
เป้าหมาย / สถานที่ดำเนินโครงการ (ทำที่ไหน) 
   -บริเวณวนอุทยานถ้ำเพชรถ้ำทอง
ระยะเวลา (ทำเมื่อใด)
  -ประมาณ  3เดือน
งบประมาณ  
   - ไม่มี
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (นำไปใช้ประโยชน์อย่างไร)
  -ทำให้คนทั่วไปทราบว่ากิ้งกือก็มีประโยชน์สำหรับทางการเกษตรกรรมแผนการปฏิบัติงาน/ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ( ทำอย่างไร)
1. หาตู้กระจกทำระบบนิเวศที่เหมาะสมกับกิ้งกือ และนำกิ้งกือมาเลี้ยง

2.เก็บมูลของกิ้งกือที่ได้มาใช้เป็นปุ๋ย
3.สังเกตการเจิรญเติบโตของพืช
4.บันทึกและประเมินผล
การประเมินผล

    จากการที่พวกเราได้ทำการศึกษาเรื่องนี้ทำให้ทราบว่าปุ๋ยแต่ละชนิดมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันคือ ปุ๋ยบางชนิดทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดี แต่ในทางกลับกันปุ๋ยที่พืชชอบก็ทำล้ายพืชได้เช่นเดียวกันคือทำให้ดินเสื่อมสภาพทำให้เมื่อเวลาผ่านไปนานเข้าพืชจะหยุดการเจริญเติบโต ลำต้นแคระแกน แต่เมือทำการศึกษาโดยใช้ปุ๋ยมูลกิ้งกือแล้วปรากฏว่าพืชมีการเจริญเติบโตได้ดีเทียบเท่ากับปุ๋ยเคมีเช่นกัน ต่างกันเพียงสีของใบเท่านั้น
2.ขั้นลงมือปฏิบัติ
บันทึกผลการปฏิบัติ
(สิ่งที่ได้ค้นพบ)

   จากการที่พวกเราได้ทำการศึกษา จึงทำให้เราค้นพบว่ากิ้งก็ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีผลและประโยชน์ต่อระบบนิเวศอย่างมาก เพราะกิ้งกือจะช่วยกำจัดแมลงขนาดเล็กในไร่ของเกษตรกร แต่เพราะเกษตรกรต้องการผลผลิตที่รวดเร็วพวกเขาจึงใช้สารเคมี จึงทำให้สิ่งมีชีวิตต่างๆรวมทั้งกิ้งกือด้วย
 
เอกสารอ้างอิง
  1.ผศ.ประสงค์ หลำสะอาด กศ.บ ชีววิทยา (เกีรตินิยมอันดับ 1),วท.ม.(สัตววิทยา,จุฬา) พศ.2554                    
  2.ผศ.ดร.จิตเกษม หลำสะอาด วท.ม.(ชีววิทยา,จุฬา),วท.ด (กีฏวิทยา,ม.เกษตรศาสตร์)พ.ศ.2554